การปฏิบัติต่อบุคคลรอบข้าง ทิศ6 (Th En Ch)

การปฏิบัติต่อบุคคลรอบข้าง Our Roles and Responsibilities 分享给身边之人 คนเราใช้ชีวิตในสังคม แน่นอนที่จะต้องไปข้องเกี่ยวกับบุคคลรอบข้างมากมาย  ซึ่งหลายคนที่ไม่เคยเรียนรู้วิธีการปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างมาก่อน หรือไม่ได้สังเกตถึงจิตใจของคนรอบข้างบ้าง  ก็อาจจะเกิดปัญหาต่างๆตามมาไม่มากก็น้อย Living in any society, we will certainly encounter many acquaintances who lack the appropriate social skills to interact with those around them or were often oblivious to the feelings of others. This may lead to numerous problems in the future. 在我们的日常生活中,必然会与身边的人有频繁的联系,可很多人却从未认识过对待社会关系和态度的方法,或者从未考虑过别人的感受,由此,社会产生了很多的问题与误会。   บุคคลรอบข้าง ที่มีความสัมพันธ์กับตัวเราทั้งโดยตรงและโดยอ้อม…

วิธีการมองคน- เพื่อน 8 ประเภท (En Th Ch)

วิธีการมองคน (การเลือกคบคน และวิธีการรักษามิตรภาพให้ยั่งยืน) How to Choose a Friend and How to Make Friendship Lasts 如何结交益友 “เราคบคนเช่นไร เราก็จะเป็นเช่นนั้น ” It is said that birds of the same feather flock together. 和什么样的人在一起,就会成为什么样的人! การเลือกคบคน เป็นสิ่งสำคัญ มีผลต่อความเจริญก้าวหน้า และความเสื่อมของชีวิตอย่างมาก จึงควรทราบหลักการมองคนว่า ใครที่ควรคบ ใครไม่ควรคบ ดังต่อไปนี้.- Choosing the company one keeps can be instrumental to either one’s growth or one’s decline; therefore, it…

การฝึกตนให้มีคุณสมบัติของผู้บรรลุธรรมได้ง่าย (Th En Ch)

การฝึกตนให้มีคุณสมบัติของผู้บรรลุธรรมได้ง่าย 修行者应具备的美德 The virtues of a practitioner การที่ใครจะเข้าถึงธรรมได้นั้น คนๆนั้นต้องปฏิบัติมรรคมีองค์ 8 ได้ถูกส่วนอย่างทุ่มชีวิตเป็นเดิมพัน แต่ว่าการที่ใครปฏิบัติมรรคมีองค์ 8 แล้ว จะสามารถเข้าถึงธรรมได้ช้าหรือเร็ว ยากหรือง่าย หยาบหรือละเอียดนั้น ขึ้นอยู่กับผลการฝึกตนของคน ๆ นั้นว่าสามารถบ่มเพาะคุณสมบัติ 5 ประการของผู้บรรลุธรรมให้เกิดขึ้นในตนได้มากน้อยเพียงใด 修行之人要证悟佛法,必须如法修习八正道。此外,证法的快与慢、难与易、粗与细,还取决于修行者是否具备五种美德。 To realise the Dhamma, a man of practice must practice the Eightfold Path accordingly. In addition, the speed or slowness, difficulty or easiness, and roughness or fineness of attaining the dhamma, also…

ประวัติความเป็นมาของการทอดผ้าป่า (Th En Ch)

ประวัติความเป็นมาของการทอดผ้าป่า ในสมัยพุทธกาล เมื่อครั้งที่พระบรมศาสดายังมิได้ทรงอนุญาตให้พระภิกษุทั้งหลายรับ คฤหบดีจีวร คือ จีวรที่ชาวบ้านถวายโดยเฉพาะ พระภิกษุที่ต้องการใช้ผ้าจึงต้องเที่ยวเก็บผ้าห่อศพ หรือผ้าเปรอะเปื้อนที่ชาวบ้านไม่ต้องการนำมาทิ้งไว้ เมื่อรวบรวมผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อยพอแก่ความต้องการแล้ว จึงนำมาซักทำความสะอาด ตัด เย็บ ย้อม เพื่อทำเป็นจีวร สบง หรือสังฆาฏิ ผืนใดผืนหนึ่ง ทั้งนี้ การทำจีวรของพระภิกษุในสมัยพุทธกาล ค่อนข้างยุ่งยากมากอีกด้วย จึงถือเป็นความลำบากอย่างหนึ่งของพระภิกษุเลยทีเดียว History of the Robe Offering During the Buddhist era, when the Buddha had not yet permitted monks to receive householder’s robes—the ones specifically donated by the villagers, monks who needed cloth had to look…

วิธีการทำสมาธิ (Th En Ch)

HOW TO MEDITATE Step-by-step instruction: The sitting posture, which is the most conducive for meditation, is the half-lotus position. Sit upright with your back straight, cross-legged with your right leg over the left one. You can sit on a cushion or pillow to make your position more comfortable. Nothing should impede your breathing or circulation.…

ประโยชน์ของสมาธิ (Th En Ch)

MEDITATION BENEFITS Meditation has been linked to a variety of health benefits. A review of scientific studies identified favorable outcomes of meditation which include: relaxation, concentration, an elevated state of awareness, self-observing attitudes, perceptual sensitivity, good memory, self-control, empathy, and good self-esteem. Meditation has been linked to a host of biochemical and physical changes in…

แนะนำความหมายสมาธิ (Th En Ch)

Introduction to Meditation ความรู้เบื้องต้นในการนั่งสมาธิ 修习禅定的基本知识   The Mind Human beings consist of body and mind. A mind is a form of energy that controls and sends signals to the brain, enabling us to think, speak and act in either good or bad fashion. The function of the mind is “to see, to remember, to think…

พุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศไทย (Th En Ch)

พุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศไทย (ตอนที่1) Theravada Buddhism in Thailand 泰国佛教(上篇) หลังจากพระโคตมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานได้สามเดือน  พระสาวกผู้ได้เคยสดับสั่งสอนของพระองค์จำนวนห้าร้อยรูป ก็ประชุมทำปฐมสังคายนา ณ ถ้ำสัตบรรณคูหา ใกล้เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ  ใช้เวลาสอบทานอยู่เจ็ดเดือน จึงประมวลคำสอนของพระพุทธเจ้าได้สำเร็จเป็นครั้งแรก  นับเป็นบ่อเกิดของคัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาบาลี  คำสอนที่ลงมติกันไว้ในครั้งปฐมสังคายนาและได้นับถือกันสืบมา เรียกว่า เถรวาท  แปลว่า  คำสอนที่วางไว้เป็นหลักการโดยพระเถระ   นิกายเถรวาท  หมายถึง  คณะสงฆ์ กลุ่ม  ที่ยึดคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งถ้อยคำและเนื้อความที่ท่านสังคายนาไว้โดยเคร่งครัด Three months after the Lord Gautama Buddha attains complete Nibbana, His 500 perfected disciples who had heard His teachings convene at Sattapanni Cave, located near the city of…

สามเณรในพระพุทธศาสนา (Th En Ch)

สามเณรในพระพุทธศาสนา คือใคร          佛教之沙弥 สามเณร แปลว่า เหล่ากอของสมณะ หน่อเนื้อของสมณะ หมายถึง นักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อย ยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุ 沙弥是沙门家族的成员之一,亦是沙门的薪传者。指在佛教僧团中,未受具足戒,未满二十岁时出家的男子。   การบรรพชาเป็นสามเณรมีมาแต่สมัยพุทธกาล ซึ่งพระพุทธองค์ทรงตรัสให้พระสารีบุตรพุทธสาวก ทรงบรรพชาให้กับ สามเณร “ราหุล” ผู้เป็นพุทธบุตร นับเป็นสามเณรองค์แรกในพระพุทธศาสนา และถือเป็นประเพณีนิยมในพระพุทธศาสนาที่สำคัญอย่างหนึ่ง ที่มารดา-บิดานำบุตรหลานที่เป็นชายอายุยังไม่ถึง ๒๐ ปีบริบูรณ์ เข้าไปรับการบรรพชาเป็นสามเณร ซึ่งแต่โบราณกาลมานั้น การที่จะได้เล่าเรียนเขียนอ่านตำรับตำรา ต้องอาศัยวัดเป็นสถานที่เล่าเรียนให้กับกุลบุตร และจำเป็นต้อง บรรพชาเป็นสามเณรก่อน จึงจะได้ฝากตัวเป็นศิษย์ของพระเถระ เพื่อที่จะได้เข้าไปอยู่ในวัดตามธรรมเนียม วัดจึงเป็นทั้งบ้าน โรงเรียนศึกษาธรรมะในพระพุทธศาสนาของสามเณร 自佛陀时代起,就有沙弥剃度出家的传统。佛陀曾让罗睺罗拜舍利弗为戒师,受沙弥戒,成为僧团中首位沙弥,也由此成为佛教的一个重要传统。后来,有许多父母慈悲引领未满二十岁的儿子入佛门,剃度出家成为沙弥。自古以来,寺院就是沙弥修行和研习经典的重要场所。同时依照传统,善男子必先受戒为沙弥,成为长老的弟子,才可以常住于寺院。因此,寺院既是沙弥的家,也是沙弥修行的地方。        เรื่องของสามเณรนิโครธ 尼拘律沙弥的故事 ในอดีต ณ ประเทศอินเดีย สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช  พระองค์เป็นกษัตรย์ที่ได้เคยผลาญชีวิตผู้คนจากการสู้รบมามาก และศรัทธานักบวชนอกพุทธศาสนามาก่อน จนกระทั่งวันหนึ่ง ขณะพระเจ้าอโศกประทับยืนอยู่ที่หน้าต่าง  ได้ทอดพระเนตรเห็นสามเณรนิโครธ ผู้ฝึกฝนตนเองมาดี มีอินทรีย์สงบ สมบูรณ์ด้วยอิริยาบถ กำลังเดินผ่านไปทางพระลานหลวงทำให้เกิดความเลื่อมใสในสามเณรมาก จึงรับสั่งพวกอำมาตย์ให้ไปนิมนต์สามเณรเข้ามาในพระราชมณเฑียร เมื่อได้ถวายภัตตาหารและไต่ถามธรรม จึงทรงเข้าใจความเป็นจริงของชีวิต…

บุญถวายภัตตาหาร (Th En Ch)

บุญจากการถวายภัตตาหารเป็นสังฆทาน Merit of food offering to the monks   供养斋僧的功德 คนเราทุกคนต่างมีความปรารถอยากจะให้ชีวิตของเรามีความสุข มีครอบครัวที่อบอุ่น ทำธุรกิจการงานอะไรก็ราบรื่น ข้ามพ้นปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆได้อย่างง่ายดาย  ผู้มีปัญญาในกาลก่อนทั้งหลาย เมื่อท่านได้เรียนรู้ความจริงของชีวิตแล้ว ต่างก็รู้ว่า เบื้องหลังความสำเร็จ ความล้มเหลวของชีวิตนั้นก็คือ บุญกับบาป  มีบุญพิเศษอยู่อย่างหนึ่งเหมือนกับยาวิเศษที่รักษาโรคต่างๆได้สารพัดชนิดเลยทีเดียว นั่นคือ บุญจากการถวายภัตตาหาร  เพราะเมื่อคนเราหลังจากทานอาหารแล้วจะได้รับฐานะ 5ประการ ดังต่อไปนี้คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ We all have the desire to make our life happy, have a warm family, run business smoothly and easily, overcome any problems or obstacles.…