Introduction to Meditation
ความรู้เบื้องต้นในการนั่งสมาธิ
修习禅定的基本知识
The Mind
Human beings consist of body and mind. A mind is a form of energy that controls and sends signals to the brain, enabling us to think, speak and act in either good or bad fashion. The function of the mind is “to see, to remember, to think and to know”. We must not confuse the “mind” with the “brain”. They are two different entities. The brain has a solid physical form of flesh and blood and is located inside the skull. Although not visible to the human eye, the mind also has a form, but an intangible one, much like electricity or magnetic energy.
The mind is the origin of all actions, good or bad. It is the quality of the mind, the lack there of that makes us good or bad. We need to nurture and control the mind so it can’t control us. In its natural state, when the mind is completely still, the mind is pure and perfect, free of any mental contaminants known as defilements. It is in this state that the mind functions at its maximum potential. But the mind is always restless and never still. It jumps quickly from one thought to another. A restless mind is like stirred water sullied by impurities, losing its clear-seeing quality. Mental impurities cloud our minds like dirt clouds water. It is hard to see with a clouded mind. Meditation is a process that stabilizes and purifies the mind, restoring it to its natural state of clarity.
ใจ
心
มนุษย์ประกอบด้วยกายและใจ ใจเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมและส่งสัญญาณไปที่สมอง ทำให้เราสามารถคิด พูด ทำในทางดีหรือชั่ว การทำงานของใจคือ เห็น จำ คิด และเราไม่ควรสับสนระหว่างใจกับสมอง เพราะทั้งสองล้วนต่างมีเอกลักษณ์ของตัวเอง สมองนั้นมีกายภาพที่มีมวลสารประกอบด้วยเนื้อและเลือดอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ ใจเป็นรูปธรรมแม้ดวงตามนุษย์จะมองไม่เห็น สัมผัสจับต้องไม่ได้ เช่นเดียวกับพลังงานไฟฟ้า หรือพลังสนามแม่เหล็ก
人是由身与心组成,心作为一种能量形式,起到控制和向大脑传递信号的作用,使我们以好或坏的方式进行思考、说话和行动。心的功能是“受、想、行、识”。我们不应该把心和大脑混为一谈,因为它们各自有着自己的特征,大脑主要是由颅骨内的血与肉组成。心是存在的,就像电能或磁能一样,虽然肉眼看不到,也无法触及,一样真实存在。
ใจเป็นพื้นฐานของทุก ๆ การกระทำ ไม่ว่าจะเป็นการกระทำความดี หรือการกระทำความชั่ว ล้วนเป็นผลมาจากจิตใจ หากจิตใจของเราไม่มั่นคง จิตใจสามารถกำหนดให้เราเป็นคนดี หรือคนชั่วได้ เราจึงต้องรักษาและควบคุมจิตใจของเรา แทนการให้ใจมาควบคุมการกระทำของเรา เมื่อใจมีความสงบนิ่งที่สมบูรณ์ ใจจะบริสุทธิ์และบริบูรณ์ ไม่มีมลทิน คือกิเลส สภาวะนี้เองที่ใจทำงานอย่างเต็มศักยภาพ อันที่จริงใจมักจะไม่พักและไม่เคยหยุดนิ่ง ใจกระโดดจากความคิดหนึ่งไปสู่ความคิดหนึ่งร่ำไป ใจไม่เคยพักเหมือนน้ำที่ไหลวนทำให้น้ำขุ่นมองผ่านเข้าไปไม่เห็นอะไรชัดเจน จิตใจที่ขุ่นมัวหมองเหมือนน้ำขุ่น การนั่งสมาธิเป็นกระบวนการทำให้จิตใจสงบและบริสุทธิ์ขึ้น สามารถฟื้นฟูใจใจคืนสู่สภาวะที่ชัดเจนตามธรรมชาติ
无论是行善或造恶,心是一切行为的根源。如果我们的心不坚定,不定的心就可能促使我们成为善人、或者是恶人。我们应该培育和控制心,而不是让心来控制我们。在自然状态下,当心完全静止时,心是纯净与圆满的,没有被任何烦恼污染。在这种状态下,心将发挥最大的潜力。事实上通常心总是漂浮不定,胡思乱想。浮躁的心就像被搅动的水变得混浊,看不清楚水里有什么。浮躁的心,就如同混浊的水一样。修习禅定是一个宁静和净化心的过程,使心恢复到自然清晰的状态。
WHAT IS MEDITATION?
The mind can be compared to an ocean, and momentary mental events such as happiness, irritation, fantasies, and boredom can be compared to the waves that rise and fall on the ocean’s surface. Just as the waves can subside to reveal the stillness of the ocean’s depths, so too is it possible to calm the turbulence of our mind to reveal its natural clarity. The ability to do this lies within the mind itself and the key to the mind is meditation.
Meditation is a means of mental development and cultivation. It is through meditation that our mind is trained, refined, and perfected. Meditation can be practiced by a layperson for the benefit of a happy life, as well as by a monastic for the attainment of liberation. Meditation is universal. It is not only for Buddhists but for people of all faiths.
At its core, meditation is about touching the spiritual essence, or the seed of enlightenment, that exists within us all. This spiritual essence is not something that we create through meditation; it is already there, deep within, behind all the barriers, patiently waiting for us to recognize it. One does not have to be religious or even interested in religion to find value in it. Becoming more aware of your “self” and realizing your spiritual nature is something that transcends religion. Anyone who has explored meditation knows that it is simply a path that leads to a new, more expansive way of seeing the world around us.
การฝึกสมาธิคืออะไร
什么是修习禅定
ใจเปรียบเสมือนมหาสมุทร สภาวะอารมณ์ทางใจชั่วคราวเช่น ความสุข ความหงุดหงิดรำคาญใจ ความฟุ้งซ่านเพ้อฝัน ความเบื่อหน่าย เหล่านี้คล้ายกับคลื่นที่ซัดสาดไปมาขึ้นลงบนผิวน้ำของมหาสมุทร แต่เมื่อเกลียวคลื่นสงบลงก็จะเผยให้เห็นถึงความนิ่งในส่วนลึกของมหาสมุทร ลักษณะนี้ก็เป็นได้เช่นเดียวกันกับพระสงฆ์ที่ปฏิบัติธรรมจนเข้าถึงความสงบเป็นอิสระทางใจ การฝึกสมาธิเป็นเรื่องสากลนิยม ไม่ได้สงวนไว้เฉพาะชาวพุทธ แต่สำหรับทุกคนที่เชื่อมั่นเรื่องการนั่งสมาธิ
心如同海洋,而诸如快乐、烦躁、散乱与无聊等瞬间的心理状态则犹如海面上起伏不定的海浪。正如海浪平息过后可以看见海洋深处的宁静一样,我们也可以透过修习禅定平息内心的波动来实现内心的安宁。修习禅定为国际通用,它不仅适用于佛教徒,也适用于热衷禅定的人。
แก่นแท้ของการทำสมาธิเกี่ยวกับการสัมผัสถึงแก่นแท้ของจิตวิญญาณ หรือเมล็ดพันธุ์แห่งการตรัสรู้ธรรมซึ่งมีอยู่ภายในตัวเราที่เป็นมนุษย์ทุกคน แก่นแท้ของจิตวิญญาณนี้ไม่ได้สร้างขึ้นมาเองจากการนั่งสมาธิ แต่มีอยู่แล้วภายในตัวของเราทุกคนซึ่งต้องฝึกฝนอดทนในการทำสมาธิเพื่อให้ผ่านพ้นอุปสรรคต่างๆ จึงจะสัมผัสถึงได้ ทุกคนสามารถพบเห็นคุณค่าแก่นแท้นี้ได้โดยไม่จำเป็นต้องนับถือศาสนาใดหรือไม่ก็ตาม เพียงมีความตระหนักรู้ในความเป็น “ตัวของเราเอง” และมีสติระลึกรู้สึกถึงจิตวิญญาณภายในตัวเอง ฉะนั้นเป็นสิ่งที่ก้าวข้ามเรื่องศาสนา ใครก็ตามที่ได้มีโอกาสผ่านการฝึกนั่งสมาธิจะรู้จักเป็นอย่างดีว่าการดำเนินจิตจากการนั่งสมาธินำไปสู่วิสัยทัศน์แห่งการมองเห็นโลกรอบๆ ตัวเราได้กว้างไกลอย่างมากมายยิ่งขึ้น
禅定的核心是触及存在于所有人体内的心识本质或证法的因缘。这种心识本质不是透过禅定创造出来,而是原本就存在每个人的体内,只有通过精进修习禅定,跨越种种障碍才能体验到。一个人不必信仰宗教,只要确定要了解“自我”,并渴望认知内在的心识本质,就可以从中发现该它的价值,它是超越宗教的东西。任何有机会修习禅定的人都知道,它让我们以一种更广阔、深邃的视角看待我们周围的世界。
TYPES OF MEDITATION
Buddhist texts, such as the Visuddhimagga, describe forty different methods of practice. All of them have the same goal: to train the mind to be still and to attain Buddhahood. The practice of meditation can be divided into three types based on how the mind is positioned and the locations of its bases: positioning the mind outside the body; positioning the mind somewhere in the body; positioning the mind at the center of the body.
Positioning the mind outside the body – Most people practice this method because they are accustomed to the habit of looking outward. The downside is that the images seen tend to be illusionary, not real. This is not the right practice if you wish to achieve the highest level of attainment.
Positioning the mind somewhere in the body – This is keeping your consciousness, your feelings, or emotions inside your body. This method is practiced by very few people. False images seldom appear and a wide range of knowledge can unfold, but you won’t arrive at the path that leads to the ultimate attainment.
Positioning the mind at the center of the body – This is the method of settling your mind at a point in the center of your body. You train your mind to be perfectly still until it reaches the right balance, at which stage you’ll experience inner mental phenomena leading to higher knowledge and bliss. This is the direct practice that leads to the path of liberation.
วิธีฝึกสมาธิในแบบต่างๆ
修习禅定的方式
จากหลักฐานทางพระพุทธศาสนาตามคัมภีร์วิสุทธิมรรคอธิบายถึงการฝึกสมาธิที่แตกต่างกัน ๔๐ วิธี ทุกวิธีการล้วนมีเป้าหมายเดียวกัน คือ ฝึกใจให้สงบนิ่งเพื่อให้บรรลุธรรมเข้าถึงพุทธิภาวะ แบ่งการฝึกสมาธิตามการวางตำแหน่งของใจและฐานที่ตั้งของใจ เป็น ๓ แบบ ได้แก่ การวางใจไว้นอกร่างกาย การวางใจไว้ในที่ใดที่หนึ่งภายในร่างกาย และการวางใจไว้ที่ศูนย์กลางกาย
根据佛教经典《清净道论》的记载,一共有四十种不同的修行方法,但有一个共同的目标,即通过修心入定来证悟佛法。根据在修习禅定时心安放的位置或定点,可分为三种方法:将心安放在体外;将心安放在体内某个位置;将心安放在体内中心处。
การวางใจไว้นอกร่างกาย-ส่วนใหญ่คนมักใช้วิธีนี้เพราะมีความเคยชินกับการมองออกไปข้างนอกตัวเอง มีข้อเสียจากภาพที่เห็นมีแนวโน้มที่จะเป็นภาพลวงตา ไม่ใช่ของจริง นี้ไม่ใช่วิธีฝึกปฏิบัติที่ถูกต้อง ถ้าหากต้องการบรรลุธรรมระดับสูง
将心安放在体外,大多数人使用这种方法是因为他们习惯了向外看。这样的缺点是看到的画面往往是虚幻的,不是真实的。如果想到达至上的修行成就,这不是正确的做法。
การวางใจไว้ในที่ใดที่หนึ่งภายในร่างกาย-วิธีนี้เป็นการฝึกสมาธิที่รักษาความมีสติสัมปชัญญะ ความรู้สึกหรืออารมณ์ต่างๆ ไว้ในตัวเรา มีเพียงคนส่วนน้อยที่ฝึกสมาธิวิธีนี้ ภาพที่ปรากฏไม่ค่อยผิดเพี้ยน ทำให้สามารถเผยให้เห็นความรู้ภายในได้มากมาย แต่เส้นทางการดำเนินจิตไปไม่ถึงการบรรลุธรรมขั้นสูงสุด
将心安放在体内某个位置,这个修行方法就是将正念正知、感受或各种情绪置于体内。只有少部分人会采用这方法,虽然假的禅相很少出现,也会产生内在的知识,但无法达到至上的修行成就。
การวางใจไว้ที่ศูนย์กลางกาย-นี้เป็นวิธีการนำใจมาตั้งไว้ที่จุดศูนย์กลางกายภายในตัวเรา ฝึกใจให้สงบนิ่งได้จนกระทั่งถึงจุดสมดุล ซึ่งจะได้สัมผัสถึงสภาวธรรมเป็นประสบการณ์ภายในนำไปสู่ความรู้และความปลื้มปีติสุขที่สูงขึ้นตามลำดับ นี่ก็คือการฝึกสมาธิอย่างถูกต้องที่จะนำพาการดำเนินจิตไปสู่การหลุดพ้นที่เป็นอิสระทางใจ
将心安放在体内中心处,这种修行方法是将心安放在自己的身体中心。训练心静定下来,达到正确的平衡,在这个阶段自己会循序渐进地体验到无限的快乐以及认知无上的知识。这种修行是我们通往解脱之道的正确方法。
CENTER OF THE BODY
Every object in nature has its center of gravity, the point where it keeps its balance. For example, the center of gravity for a cup is at the center point of the cup; the center of gravity for a stick is at the middle point of the stick, etc. If you place a cup or a stick sideways or off the center of gravity, it will fall because it is out of balance. The center of gravity of all material objects is always located at the center location.
The center of the body is the central point of our stream of consciousness, and also the inner source of happiness and wisdom. It is the natural home of the mind. Its location is two finger-widths above the navel in the middle of the abdomen. This is known as the “Seventh Base” of the mind.
The goal of a meditator is to “tune” or adjust the mind through a single point of concentration and to arrive at the point of balance at the center of the body. When the mind reaches its perfect point of balance, it will have a clear-seeing quality that enables it to penetrate a form of knowledge, insight, and wisdom. Think of the mind as the lens of a camera or the dial of a radio receiver. You can adjust the focus of the lens of the camera to capture the clearest picture; you can tune the dial of the radio to find the right wavelength to reach the desired station. The same principle applies to the mind—when the “focus” or “wave-length” of the mind is adjusted to the right point, it becomes the most powerful.
ศูนย์กลางกาย
身体中心
วัตถุต่างๆ ในธรรมชาติล้วนมีจุดศูนย์ถ่วงเพื่อรักษาสมดุล อย่างเช่น จุดศูนย์ถ่วงของถ้วยอยู่ที่จุดศูนย์กลางของถ้วย จุดศูนย์ถ่วงของแท่งไม้อยู่ที่จุดกึ่งกลางของแท่งไม้เป็นต้น ฯลฯ หากวางถ้วยหรือแท่งไม้ไว้ที่ด้านข้าง หรือวางไว้ห่างออกจากจุดศูนย์ถ่วง มันจะตกลงมาหรือล้มลงได้ เพราะมันไม่สมดุลกัน จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุทั้งหลายจะมีตำแหน่งอยู่ตรงจุดศูนย์กลางเสมอ
自然界中的每个物体都有重心,即保持其平衡的点。例如,杯子被子的重心在杯子的中心点,棍子的重心在棍子的中心点等等。如果把杯子或棍子放在一边或偏离重心,就会因为失去平衡而掉下来。因此,所有物体的重心始终是位于中心位置。
ศูนย์กลางของร่างกายเป็นจุดศูนย์กลางของกระแสจิตใต้สำนึกของเรา เป็นแหล่งความสุขและดวงปัญญาภายใน เสมือนเป็นบ้านของใจ มีตำแหน่งคือเอาสองนิ้วมือเรียงทาบตรงเหนือสะดือกลางช่องท้อง ตรงนี้เรียกว่า “ฐานที่ ๗ “ของใจ
身体的中心就是我们意识流的中心点,也是内在快乐与智慧的源泉,犹如心灵的家园。它的位置在与肚脐平行的腹部中央往上提升两指宽的高度处,被称为心的“第七处”。
เป้าหมายของผู้ฝึกทำสมาธิคือการ “ปรับ” หรือการจัดใจผ่านจุดใดจุดหนึ่งด้วยการตั้งสติเพื่อทำให้ใจไปถึงจุดสมดุลที่กลางกาย เมื่อใจไปถึงจุดสมดุลได้สมบูรณ์แล้ว ก็จะมีคุณสมบัติในการเห็นภาพภายในได้ชัดเจน ทำให้สามารถมองทะลุแทรกเข้าไปในเรื่องความรู้ ความหยั่งรู้ และปัญญาได้ ให้ลองคิดว่าใจเป็นเสมือนกับเลนส์ของกล้องถ่ายรูปหรือเป็นปุ่มหมุนของเครื่องรับวิทยุ สามารถที่จะปรับเพื่อโฟกัสภาพให้กล้องจับภาพชัดเจนที่สุด หรือสามารถจูนคลื่นวิทยุเพื่อค้นหาความยาวคลื่นของสถานีวิทยุที่ต้องการ ซึ่งเป็นหลักการเดียวกันเพื่อใช้ในการปรับใจ เมื่อเราโฟกัสหรือปรับคลื่นความถี่ของใจตรงตามจุดที่ถูกต้องแล้วใจจะมีพลังมากมหาศาล
禅修者的目标是透过调整或将注意力集中于某一定点,从而使心到达身体中心点,即身体平衡点。当心完全到达平衡点后,就可以清晰地看见内在的画面,能够看见并深入了解内在的知识、预知与智慧。尝试把心想象成照相机的镜头或收音机的表盘,可以调整相机镜头的焦距拍出清晰的画面,或者调整收音机的表盘找到所需电台的波段。同样的道理也适用于调整心,当心的“焦点”或“波段”调整到正确的位置,它就会具备强大的力量。
SEVENTH BASE OF THE MIND
The Seventh Base, located at the center of the body, two finger-breadths above the navel, is the natural home of the mind and also the gateway to spiritual attainment. When the mind is settled at the Seventh Base, it is in a safe sanctuary sheltered from mental impurities and outside influences which contaminate its purity. This is where the mind becomes most peaceful and pure, functioning at its best. The Seventh Base of the mind is the beginning point of all goodness. It is the path of purity, the gateway to Nirvana. All Buddhas attained enlightenment through the Seventh Base, at the center of the body.
You should acquaint yourself with the center of the body and develop a habit of keeping your mind there at all times.
ฐานที่ ๗ ของใจ
心的第七处
ฐานที่ ๗ อยู่ในศูนย์กลางกาย เหนือสะดือขึ้นมาสองนิ้วมือ เป็นต้นกำเนิดของใจและเป็นประตูเปิดไปสู่หนทางการบรรลุธรรม เมื่อใจตั้งมั่นอยู่ที่ฐานที่ ๗ อันเป็นที่ที่ปลอดภัยปราศจากจากมลทินทางใจทั้งหลายหรือแม้แต่อิทธิพลใดๆ ก็ไม่อาจทำให้ใจปนเปื้อนได้ ใจจะบริสุทธิ์ที่สุดและสงบที่สุดอีกทั้งใจจะมีคุณภาพในการทำงานที่ดีที่สุดด้วยเมื่อตั้งอยู่ที่นี้ ฐานที่ ๗ เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการทำคุณความดีทั้งปวง เป็นหนทางแห่งความบริสุทธิ์ เป็นประตูนำไปสู่พระนิพพาน พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ตรัสรู้ผ่านฐานที่ ๗ ณ ศูนย์กลางภายในของร่างกาย
第七处位于身体的中心,肚脐上方两指宽的高度处,这既是心灵的家园,也是证法的入口处。当心安住在第七处时,就相当于处在一个安全的避难所里,这是一个不受污染与影响的地方,在这里心会变得无比纯净与安宁。当心安住在第七处,这里将成为一切善行的起点,既是清净之道,也是趣向涅槃之门。一切诸佛都是透过体内中心第七处觉悟成佛。
THE DHAMMAKAYA TRADITION
The Dhammakaya Tradition is a Buddhist meditation method taught by Phramongkolthepmuni in the early 20th century. Dhammakaya meditation encompasses both the Samatha (Samathality) and vipassana (insight) levels. The goal at the Samatha Samantha is o overcome the Five Hindrances and reach a state of one-pointedness known as the ‘standstill of the mind’. Although the meditator may start with any as forty different paths of practice, once the Hindrances are overcome, all methods converge into a single path of mental progress which leads to meditation at the vipassana level. Dhammakaya meditation embarks on the vipassana level at a higher stage than some other meditation schools.
In the Dhammakaya Tradition, the level of attainment is usually explained in terms of equivalent inner transcendental bodies—numbering eighteen—which start with the physical human body and the subtle human body and go in successively deeper layers until reaching the Body of Enlightenment known as the Dhammakaya. The process of purification in the Dhammakaya Tradition corresponds with that described in the Dhammacakkappavattana Sutta where the arising of brightness is accompanied by the divine eye, the knowing, the wisdom, and the Knowledge.
การปฏิบัติธรรมสายวิชชาธรรมกาย
修习法身法门
การปฏิบัติธรรมสายวิชชาธรรมกายเป็นการฝึกสมาธิของพุทธศาสนาวิธีหนึ่งที่แนะนำการสอนโดยพระมงคลเทพมุนีนับตั้งแต่ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ การฝึกสมาธิสายวิชชาธรรมกายครอบคลุมทั้งระดับสมถะและวิปัสสนา เป้าหมายของสมถะ คือ การก้าวข้ามอุปสรรคเอาชนะนิวรณ์ทั้ง ๕ เข้าถึงสภาวธรรมที่รวมใจแน่วแน่ให้เป็นหนึ่งเดียวที่เรียกว่า “การหยุดนิ่งของใจ” แม้ผู้ฝึกทำสมาธิอาจเริ่มต้นด้วยแนวทางปฏิบัติที่แตกต่างกันถึงสี่สิบแนวทาง แต่เมื่อขจัดอุปสรรคได้แล้ว วิธีการปฏิบัติธรรมทั้งหมดจะรวมเป็นแนวทางเดียวเช่นกัน แสดงถึงความก้าวหน้าของใจซึ่งนำไปสู่การทำสมาธิในระดับวิปัสสนา การปฏิบัติธรรมสายวิชชาธรรมกายสอนระดับวิปัสสนาในระดับที่สูงกว่าสถานปฏิบัติธรรมอื่นๆ
法身法门是20世纪初由北榄寺祖师教授的一种佛教禅修方法。法身法门的修习包含止与观两个层次,止的目标是通过调伏五盖,达到称为“心的静定”的一境性状态。虽然禅修者可以采用的修行方法有多达四十种,但如果克服了五盖的障碍,所有的修行方法都会汇集成统一的路径,一起导向内观层次的禅修。法身法门所教导的内观层次比其他学派更深入。
การบรรลุธรรมระดับต่างๆ ในการปฏิบัติธรรมสายวิชชาธรรมกายมักจะอธิบายถึงกายภายในทั้งหมด ๑๘ กาย เริ่มตั้งแต่กายมนุษย์หยาบ กายมนุษย์ละเอียด เข้าไปเป็นชั้นๆ จนกระทั่งบรรลุธรรมกายที่เป็นกายตรัสรู้ธรรม ขั้นตอนการปฏิบัติธรรมสายวิชชาธรรมกายที่ทำให้ใจและกายบริสุทธิ์นั้นสอดคล้องกับคำอธิบายที่มีไว้ในธรรมจักกัปปวัตตนสูตรว่าด้วยเรื่องการบรรลุธรรมที่มาพร้อมๆ กับการบังเกิดความสว่างเจิดจ้าพร้อมด้วยความมีตาทิพย์ ความเห็นหยั่งรู้ ปัญญา และความรู้แจ้ง
在修习法身法门中所达到的层次,通常以内在十八身作为解释。从粗人身开始到细人身,依次证入更深的层次,直至证入称为觉悟之身的法身。修习法身法门令身心清净的过程与《转法轮经》中所描述的过程相一致,在光明生起的同时伴随着证得天眼、智慧与明辨。