มารยาทของพระภิกษุ (Th Ch)

มารยาทของพระภิกษุ 出家人的威仪 ความหมายของมารยาท 威仪的定义 มารยาท หรือ อาจาระ หมายถึง ระเบียบแบบแผน หรือขอบเขตอันเป็นข้อจำกัดที่บุคคลพึงประพฤติปฏิบัติให้เกิดขึ้นทางกายและทางวาจา ซึ่งเป็นสิ่งที่มองเห็นได้ง่าย เพื่อความสงบสุขทั้งแก่ตนเองและส่วนรวม 威仪是指规则惯例或限制一个人在身与口方面的行为规范,有助于促进个人与团体的和合安乐。 มารยาทและการวางตัวที่เหมาะสมจึงเป็นปราการด่านแรกที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้ผ่านการฝึกฝนอบรมตนมาดี มีคุณสมบัติของผู้มีวัฒนธรรมอันเจริญ สามารถยังจิตของผู้พบเห็นให้ยินดีเลื่อมใส นอกจากนี้ยังเป็นการแสดงถึงความเป็นผู้มีความเคารพอ่อนน้อม ส่งผลให้เกิดความเคารพในพระรัตนตรัยและความเคารพในการปฏิสันถารอีกด้วย 因此,一个人得体的行为举止是展现良好人格的第一道防线。具备优秀素质的人能让见者心生欢喜与信仰,也从侧面体现了自身的谦卑,进而也让他人对三宝心生敬重,以及尊重彼此的对话。 พระภิกษุคือผู้ที่ตั้งใจฝึกฝนอบรมตนเพื่อให้เกิดความสงบ เรียบร้อย น่าเลื่อมใส และเป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา ตามอย่างองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในเรื่องของมารยาทหรืออาจาระของพระภิกษุนั้น สามารถแบ่งได้เป็น ๖ ลักษณะใหญ่ๆ คือ 出家人是一个立志通过训练使自己成为身心清净、威仪庄严、值得信仰的人。根据佛陀的规定,出家人的威仪特征可分为六组: ๑. มารยาทในการยืน 1.站立的威仪 ๑.๑ การยืนตามลำพัง 1.1单独站立 ยืนให้ขาทั้งสองข้างชิดกัน หรืออยู่ในท่าพักแขนปล่อยแนบลำตัว หรือจะประสานมือไว้ข้างหน้าเล็กน้อย หรือจะยืนเอียงข้างนิดหน่อยก็ได้ แต่ต้องให้อยู่ในท่วงทีที่สง่างาม อย่ายืนขากาง แกว่งแขน หันหน้าไปมา ลุกลี้ลุกลนหรือหลุกหลิก แคะ แกะ เกา เป็นต้น 双腿并拢站立,双手自然放下或者交叉紧握放在身前,或者稍微侧身站立,保持优雅的姿势。不得叉腿、摆臂、左顾右盼、慌忙、站立不安、抓、挠等。 ๒.๑ การเดินตามลำพัง 2.1独自行走 ให้เดินอย่างสุภาพ หลังตรง…

การดูแลรักษาและบริหารปัจจัย 4 (Th Ch)

การดูแลรักษาและบริหารปัจจัย ๔ 维护和管理四事           ปัจจัย ๔ คือ   สิ่งจำเป็นสำหรับชีวิต ๔ ประการ สำหรับพระภิกษุสามเณร ได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ หรือ ที่พักอาศัย และยารักษาโรค เป็นเครื่องหล่อเลี้ยงชีวิตขั้นต่ำสุด ในการบริโภคใช้สอยนั้น หากสิ่งใดสิ่งหนึ่งขาดหรือน้อยเกินไปก็ตาม มากเกินไปก็ตาม หรือคุณภาพของสิ่งที่ใช้ดีเกินไปหรือด้อยเกินไปก็ตาม ย่อมมีผลกระทบต่อสุขภาพพลานามัย ชีวิต การประพฤติปฏิบัติธรรมของพระภิกษุ ความรู้สึกของประชาชนและเพื่อนสหธรรมมิกดังนั้น จึงควรพิจารณาตั้งแต่การหา (การรับ) การใช้ และการดูแลรักษา จึงมีความจำเป็นต้องดูแลรักษาและบริหารปัจจัย ๔ ได้อย่างถูกต้องและติดเป็นนิสัย 四事指出家人(比丘和沙弥)日常所需的四种资具,分别为袈裟、托钵、卧具或住所与医药。这是维持生活基本的必需品,如果缺乏或过剩,质量太好或太差都会对出家人的健康与修行,以及信众与道友的感受产生影响。因此,在寻找(接受)、使用与维护时要省思,正确维护和管理四事并养成习惯。           มัตตัญญู แปลว่า รู้จักประมาณ หมายถึง รู้จักความพอดี และความเหมาะสม ในทุกเรื่องราว ทุกสิ่งทุกอย่างที่เข้าไปเกี่ยวข้อง โดยในขั้นต้นพระพุทธองค์ทรงเน้นให้รู้จักประมาณในการรับปัจจัย ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร ไว้เพื่อบริโภคใช้สอยให้เพียงพอต่อการดำรงชีวิตและการประพฤติปฏิบัติธรรมของพระภิกษุเป็นการป้องกันและบังคับใจตั้งแต่ต้น ไม่ให้ตกไปเป็นทาสแห่งกิเลส คือ ความอยากในรูปแบบต่างๆ…

หนังสือของขวัญ (Th En Ch)

ปฏิบัติธรรมตามหลักวิชชา (Th En Ch) 1.มโนปณิธาน สิ่งที่สำคัญที่สุด ไม่ว่าอยู่ตรงไหนก็ตาม อย่าทิ้งการปฏิบัติธรรม อย่าให้เป้าหมาย  มโนปณิธานสูญหาย   การที่พวกเราตัดสินใจเข้าวัด ก็เพราะต้องการเข้าถึงพระธรรมกาย   และศึกษาวิชชาธรรมกาย   เพราะฉะนั้น ให้ปฏิบัติธรรมควบคู่กันไปกับภารกิจที่ได้รับมอบหมาย  โดยไม่ต้องคาดหวังว่า…จะต้องละเอียดเลิศเลอ เอาแค่ไม่หยาบไปกว่าเดิมก็พอแล้ว แต่ถ้าหากว่า  ละเอียดขึ้นไปกว่าเดิม  ก็ให้ถือเป็นผลพลอยดีที่เราได้รับจากการรักษาความละเอียดตลอดเวลา 7  ธันวาคม  พ.ศ.  2540 1.Our Goal The most important thing, wherever you are, is not to neglect your meditation practice. Don’t let your purpose in life1slip away. We made the decision to follow this path,…

อนุพุทธประวัติ (Th En Ch)

อนุพุทธประวัติ 佛弟子生平简史http://books.masterhsingyun.org/ArticleDetail/artcle3849 https://www.lingyinsi.com/detail_1069_9602.html 第一章 佛陀開示《佛種姓》的因緣 อนุพุทธประวัติ คือ ความเป็นมาหรือประวัติของบุคคลผู้ได้บรรลุธรรม หรือตรัสรู้ธรรมตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการฟังพระธรรมคำสั่งสอนของพระองค์ แล้วได้บรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา บุคคลเหล่านี้เป็นผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะคือเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ  และถือว่าเป็นพยานในการตรัสรู้ธรรมของพระพุทธองค์เป็นอย่างดีอีกด้วย 《佛弟子生平简史》讲述了四十位尊者遵循佛陀的教义修行证得阿罗汉果的故事。这些阿罗汉见证了佛陀的觉悟,被佛陀所认可,在各个领域也有杰出的贡献。 The Life History of Forty Anubuddhas It is the compilation of the life history of forty personages who had practiced according to the Lord Buddha’s Teachings until they were able to attain Arahatship. These Arahats bore witness to the Lord…

บุญ พลังแห่งความสุข ความสำเร็จ (Th En Ch)

หมวด 1 บุญ พลังแห่งความสุข ความสำเร็จ Chapter 1 Merit: Power of Happiness and Success 功德 是达成幸福和成功的力量   เข็มทิศชีวิต (เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร 3) ในสังสารวัฏนี้ มีแต่บุญกับบาปเท่านั้นที่ปะทะกันอยู่ ทุกอย่างตัดสินกันที่บุญ-บาป  พระสัมมาสัมพุทธเจ้าสรุปว่า ชีวิตในสังสารวัฏสิ่งที่ควรทำ คือ ละชั่ว ทำดี ทำใจให้ผ่องใส นี่คือคำสรุปของผู้รู้ ที่เป็นแผนผังชีวิต หรือแผนที่ที่เราจะเดินทางในสังสารวัฏได้ดีที่สุด ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๗   Life’s compass (When you don’t know what to read 3) In the cycle of existence, only merit and sin…

รักษาสุขภาพและการปฏิบัติธรรม (Th En Ch)

หมวด 6 รักษาสุขภาพและการปฏิบัติธรรม Chapter 6: Maintain Our Physical Health and Meditation Practice 身体健康与打坐修行   วัยแข็งแรง (เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร 2) ในวัยนี้ ลูกยังอยู่ในวัยที่แข็งแรง สดชื่น เหมาะสมในการที่จะทำความเพียรอย่างถูกหลักวิชชา ก็ให้ทุ่มเทชีวิตจิตใจศึกษาฝึกฝนตัวเองเรื่อยไป จนกระทั่งถึงจุด ๆ หนึ่ง เราก็จะได้ไปศึกษาวิชชาธรรมกายด้วยตัวของเราเอง ถ้าไปถึงตรงนั้นได้ มโนปณิธานของเราจะแน่วแน่ แล้วจะเข้าใจว่า ทำไมพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ ท่านอุทิศชีวิตมุ่งปราบมาร จะมีเหตุมีผลรองรับตรงนี้ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2551   Period of good health (When You Don’t Know What to Read 2) During this stage, you are healthy and…

ความสุขจากการปฏิบัติธรรม (Th En Ch)

หมวด7 ความสุขจากการปฏิบัติธรรม Happiness from Meditation 内在宁静之乐   ถามหาความสุข (เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร 2) ประโยชน์อย่างน้อยที่สุดของการฝึกใจหยุดนิ่ง คือ  ทำให้เราได้เข้าถึงความสุขในปัจจุบันทันใด ซึ่งจะเป็นความสุขที่แท้จริง  ที่ไม่มีในที่ไหน นอกจากทำใจให้หยุดนิ่งเท่านั้น 29 มกราคม พ.ศ. 2549   Seeking happiness (When You Are Not Sure What to Read 2) The minimum benefit of practicing meditation is that it allows you to feel happiness right now. It is true happiness that cannot be…

อยากรวยเชิญทางนี้ (Th En Ch)

หมวด 2 อยากรวยเชิญทางนี้ Chapter 2 If you want to be rich, come this way. 想要富有请看这里   ทำไมสอนให้รวย (เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร 3)                เราจำเป็นจะต้องรวย บางคนกลัวคำว่า “รวย” เคยเจอคำถาม “ทำไมต้องสอนให้รวย แปลว่า สอนให้โลภใช่ไหม”  “ไม่ใช่”  รวยกับโลภมันคนละคำกัน ไม่เหมือนกัน สะกดยังไม่เหมือนกันเลย ให้รวย ไม่ใช่ ให้โลภ แต่ถ้ารังเกียจคำว่า “รวย” ไปลองจนดู หรือ เปลี่ยนคำใหม่ว่า “มีกิน มีใช้” เอาไว้สำหรับเป็นอุปกรณ์ในการสร้างบารมี เพราะอยู่ดี ๆ จะให้บุญหล่นทับ มันไม่มี เราจะต้องสร้างด้วยตัวของเราเอง เราจำเป็นจะต้อง รวย หรือ มีกิน มีใช้ เพื่อเป็นอุปกรณ์ในการสร้างบารมีของเรา สำหรับ…

กฎแห่งกรรม ไม่รู้ อันตราย (Th En Ch)

หมวด 4 กฎแห่งกรรม ไม่รู้อันตราย Chapter 4 : The law of Karma: Ignorance brings danger 不知道因果之律是非常危险的   กฎแห่งกรรม (เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร 3) กฎแห่งกรรม คือ กฎแห่งการกระทำ หรือ กฎแห่งเหตุและผล ประกอบเหตุอย่างนี้ ต้องไปมีผลอย่างนั้น ประสบผลอย่างนี้ เพราะประกอบเหตุมาอย่างนั้น กรรม คือ การกระทำทางกาย ทางวาจา และทางใจ  จะดีหรือชั่ว เจตนาหรือไม่เจตนา จะน้อยหรือมาก  ล้วนมีผลทั้งสิ้น ที่ไม่มีผลไม่มีเลย ผลบางอย่างปรากฏชัดในปัจจุบันทันตาเห็น  บางอย่างไม่เห็น เพราะเราตายเสียก่อน  แต่ว่าผลนั้นจะส่งต่อ ๆ กันไปหลังจากตายแล้ว รวมทั้งเกิดใหม่อีกกี่ครั้งก็ยังต้องเจออีก กฎหมายหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในโลก ที่มนุษย์สมมติกันขึ้นมา  ยังหลีกเลี่ยงได้ ยังเปลี่ยนแปลงได้ ปีนี้ใช้อย่างนี้ ปีหน้าเปลี่ยนใหม่  แต่กฎแห่งกรรมไม่เคยเปลี่ยนแปลง ทำดีได้ดี…

อธิษฐานจิตตั้งผังสำเร็จชีวิตในอนาคต (Th En Ch)

หมวด 3 อธิษฐานจิตตั้งผังสำเร็จชีวิตในอนาคต Chapter 3 : Praying with the mind set for future success 发愿 是为了来世的成功而做计划   การอธิษฐานจิตคืออะไร (เมื่อไม่รู้จะอ่านอะไร 3) การอธิษฐานจิตไม่ใช่เป็นความโลภ หรือการค้ากำไรเกินควร เราจะเอาไปเปรียบเทียบกับธุรกิจไม่ได้อธิษฐานจิต ก็คือการตั้งเป้าหมายว่า ในอนาคตเราอยากจะไปเป็นอะไร เราปรารถนาอย่างไร เราจึงตั้งจิตอธิษฐาน แล้วบุญก็จะเป็นพลังสนับสนุน ให้เป็นไปตามความปรารถนานั้น ซึ่งไม่เกี่ยวกับความโลภ ถ้าความโลภเกิดขึ้น บุญก็ไม่เกิด เพราะมันตรงข้ามกัน และเราก็กำลังเดินตามรอยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อครั้งยังเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ ทุกครั้งที่พระองค์ทำความดี ไม่ว่าทำเล็ก ทำใหญ่ พระองค์ปรารถนาพุทธภูมิทั้งนั้น ซึ่งเป็นภูมิอันยิ่งใหญ่ ถวายดอกไม้บูชาพระเจดีย์ก็ปรารถนาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าเราจะไปคิดว่า อย่างนี้เป็นการค้ากำไรเกินควร ก็ไม่ถูก แต่ว่าพระองค์กำลังสั่งสมบุญเพื่อไปสู่เป้าหมายตรงนั้น อย่างนี้เรียกว่า อธิษฐานบารมี คือ กำลังสั่งสมบุญทีละเล็ก ทีละน้อย เหมือนปลวกค่อย ๆ สร้างรังจากดินก้อนเล็ก ๆ ขึ้นไป…